วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2562

ข้อสอบ o-net พร้อมเฉลย

ข้อสอบ o-net พร้อมเฉลย


บทแบบจำลองอะตอม

1. อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร
ก. ดอลตัน
ข. ทอมสัน
ค. รัทเทอร์ฟอร์ด
ง. โบร์


เฉลย ตอบ ข.

2. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป
ข. มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส
ค. มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส
ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม


เฉลย ตอบ ค.

3. อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน
ก.โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
ข.โปรตอนกับอิเล็กตรอน
ค. นิวครอนกับอิเล็กตรอน
ง. โปรตอนกับนิวตรอน


เฉลย ตอบ ง.

4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ก. โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม
ข. นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมาก ภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน
ค. นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน
ง.อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน


เฉลย ตอบ ข.

5. เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
ก. จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ
ข. จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ
ค. จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ
ง. จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ


เฉลย ตอบ ข.

6. ธาตุ มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ
ก. 31, 15, 15
ข. 31, 16, 15
ค. 16, 15, 15
ง. 15, 31, 16


เฉลย ตอบ ก.


7. ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง
ก. ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน
ข. ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ค. ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ง. ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน


เฉลย ตอบ ข.

8. ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด
ก. 2, 9
ข. 2, 8, 1
ค. 2, 6, 5
ง. 1, 8, 2


เฉลย ตอบ ข.

9. ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง
ก. จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
ข. มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม
ค. มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
ง. มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม


เฉลย ตอบ ค.

10. ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ
ก. คาบ หมู่ 7
ข. คาบ หมู่ 3
ค. คาบ หมู่ 7
ง. คาบ หมู่ 8


เฉลย ตอบ ก.

บทธาตุและสารประกอบ

11. ไอออนของธาตุ X มีจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนเท่ากับ 9 10 10 ตามลำดับธาตุ X มีสัญลักษณ์เป็นไปตามข้อใด
ก.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 19 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 9
ข. X มีเลขมวลท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 9
ค.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 11
ง.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ

เฉลย ตอบ ก. เพราะมีโปรตอน 9 แสดงว่าเลขข้างล่างคือ 9 นิวตรอน 10 แสดงว่าเลขบน - เลขล่างคือ 10


12. สารบริสุทธิ์ของธาตุ X ในข้อที่ 69 มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด
ก. F2 .Cl2 ค.N2 ง.O2

เฉลย ตอบ ก. เพราะเมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วจะได้ 2 7 คือหมู่ 7 5 2 นั่นคือ F อยู่ ซึ่งอยู่ในรูปของ Diatomic molecule

13.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของธาตุ X ในข้อที่ 69
ก. สาร X มีสถานะเป็นแก๊ส
ข. ไอออนที่เสถียรของธาตุ X มีประจุเป็น -1
ค. ธาตุ X พบได้ในบางส่วนของร่างกายคน
ง.ธาตุ X กับธาตุ Ca เกิดเป็นสารประกอบที่มีสูตร CaX

เฉลย ตอบข้อ ง เพราะ ข้อ 1 2 อยู่ในสถานะแก๊สไอออนมีประจุ -1 ซึ่งเมื่อสารประกอบกับ Ca เป็นโลหะ


14. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน X2+ ที่มี 44 โปรตอนเป็นตามข้อใด
ก. [Ar] 3d10 4s2 4p5 4d5
ข. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d2
ค. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d6
ง. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d8            
                                                                                                                                                                                                             เฉลย ตอบ ค  เพราะจำนวนอิเล็กตรอน = 44-2 = 42 ซึ่งตรงกับข้อ 3 จำนวนอิเล็กตรอน = 18+10+2+6+6 = 42                                                                                                                                                 



บทพันธะเคมี

15. เพราะเหตุใดถ้าจะมีการสร้าง พันธะเคมี
ก. ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนแก่ธาตุอื่นเพื่อให้เกิดความเสถียร
ข. ถ้าต้องการรับอิเล็กตรอนจากภาพอื่นเพื่อให้เกิดความเสถียร
ค. ถ้าต้องการใช้อิเล็กตรอนร่วมกับธาตุอื่นเพื่อให้เกิดความเสถียร
ง. ถ้าต้องการจัดอิเล็กตรอนวงนอกสุดให้ครบ เพื่อให้เกิดความเสถียร

เฉลย ตอบ ง.

16. ธาตุในข้อใดมารวมตัว กันโดยการสร้างพันธะโคเวเลนต์
ก. เหล็กกับฟลูออรีน
ข. แบเรียมกับกำมะถัน
ค. ฟอสฟอรัสกับโบรีน
.รูบิเดียมกับออกซิเจน

เฉลย ตอบ ง.

17. ข้อใดไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. การเคี้ยวข้าวก่อนกลืน
ข. การฟอกสบู่ในน้ำกระด้าง
ค. การทาแล็กเกอร์เคลือบผิวไม้
ง. การผสมกลีเซอรอล กับเอทานอล

เฉลย ตอบ ง.

18. พลาสติกชนิดหนึ่งนำมาทำสวิตไฟฟ้า เป็นพลาสติกที่มีความแข็งมาก แต่เมื่อถูกความร้อนสูงมากๆจะเปราะและแตกหักได้ พลาสติกชนิดนี้น่าจะมีโครงสร้างแบบใด
ก. โครงสร้างแบบกึ่ง
ข. โครงสร้างแบบเส้น
ค. โครงสร้างแบบร่างแห
ง. โครงสร้างแบบกึ่งหรือแบบร่างแห

เฉลย ตอบ ค.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น